Articles

กลยุทธ์การบริหารความเสี่ยงด้านทรัพยากรบุคคลเพื่อความสำเร็จขององค์กร

9767

โดยทั่วไปผู้บริหารองค์กรธุรกิจ มักจะมองเรื่องการบริหารความเสี่ยงในมุมมองด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย แต่ในสภาพของการบริหารงานจริงนั้น ความเสี่ยงไม่ได้ถูกจำกัดอยู่แค่ในเรื่องความปลอดภัยและอาชีวอนามัยเท่านั้น แต่ความเสี่ยงยังครอบคลุมถึงการปฏิบัติงานด้านต่าง ๆ ขององค์กรด้วย การบริหารความเสี่ยงก็เป็นอีกแนวทางหนึ่งในการประยุกต์ใช้ยุทธศาสตร์เชิงรุก บางครั้งเหตุการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ยังไม่เกิดขึ้น ซึ่งองค์กรจำเป็นต้องเฝ้าระวังและติดตามไม่ให้เกิดสิ่งที่ไม่คาดคิดเกิดขึ้นเสมอ

การสร้างผลิตภาพห่วงโซ่คุณค่าด้วย Lean Six Sigma

13604

ปัจจุบันสภาพปัจจัยแวดล้อมทางธุรกิจได้มีความเปลี่ยนแปลงอย่างพลวัตร ทำให้องค์กรธุรกิจส่วนใหญ่ประสบปัญหาความผันผวนจากปัจจัยต่าง ๆ ปัญหาส่วนใหญ่ที่องค์กรส่วนใหญ่เผชิญมักเกิดจากผลกระทบจากปัจจัยภายนอก เช่น ต้นทุนการผลิต การวางแผน ความล่าช้าในการกำหนดการผลิต และระยะเวลาส่งมอบไม่แน่นอน มักเกิดจากสาเหตุที่เป็นผลกระทบจากคู่ค้าหรือผุ้ส่งมอบ ด้วยเหตุนี้การบริหารห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Management) จึงมีบทบาทสนับสนุนการดำเนินธุรกรรมยุคใหม่ด้วยการสร้างประสิทธิภาพการไหลของทรัพยากร และการบริหารต้นทุนให้เกิดประสิทธิผลสูงสุด

ระบบสำรองในการควบคุมแบบ FieldBus (Redundancy in FieldBus Control Systems)

10546

ปัจจุบันระบบเครื่องมือวัดและการควบคุมสำหรับอุตสาหกรรมกระบวนการผลิตมีการพัฒนากันอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการจากผู้ใช้ทั้งในด้านจำนวนข้อมูล, ความเชื่อถือได้ของระบบควบคุมและสมรรถนะการทำงานที่เพิ่มขึ้น เพื่อให้การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างเครื่องมือวัดและระบบควบคุมมีประสิทธิภาพเพิ่มมากขึ้น จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาระบบการสื่อสารเพื่อให้มีปริมาณการรับส่งข้อมูลได้มากขึ้น ระบบการควบคุมแบบ FieldBus จึงเป็นเทคโนโลยีที่ได้มีการนำมาใช้ในการสื่อสารข้อมูล ทดแทนการสื่อสารแบบเก่าที่ใช้เป็นสัญญาณอะนาลอกด้วยมาตรฐานสัญญาณกระแส 4–20 mA

ระบบต่อลงดินชนิด Isolated Ground (IG)

6928

ในปัจจุบัน เครื่องใช้ไฟฟ้าเกือบทั้งหมดประกอบด้วยชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์ ไม่ว่าจะเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ก็จะมีชุดควบคุมมอเตอร์ชนิด Variable Speed Drive (VSD) เป็นส่วนประกอบอยู่ หรือหลอดไฟฟ้าแสงสว่างชนิดแก๊สดิสชาร์จ (Gas Discharge Lighting) ก็จะมีบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ (Electronic Ballast) เป็นอุปกรณ์ควบคุมรวมอยู่ด้วย การใช้งานอุปกรณ์ไฟฟ้าอิเล็กทรอนิกส์อย่างแพร่หลายทำให้ระบบไฟฟ้ากำลังเกิดความไวต่อความแปรปรวน (Power Disturbance) และเกิดการรบกวนของสัญญาณคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromagnetic Interference EMI) และนำไปสู่ปัญหาของการใช้งานของอุปกรณ์ไฟฟ้าในที่สุด

ซัพพลายเชนในกระบวนการเติมเต็มสินค้าคงเหลือให้เพียงพอตลอดเวลา (Replenishment)

19509

ห่วงโซ่อุปทานเป็นการเชื่อมโยงกันระหว่างองค์กร ทรัพยากร และกิจกรรมต่างๆที่รวมถึงการก่อให้เกิดคุณค่าในรูปของสินค้าสำเร็จรูปหรือบริการให้แก่ลูกค้าทำให้คุณค่าเกิดมากที่สุดในแต่ละจุดเชื่อมโยงทำให้คุณค่าเกิดมากที่สุดสำหรับความสามารถโดยรวม การไหลของข้อมูลในกระบวนการโซ่อุปทานจะมีความสัมพันธ์กันทั้งประบวนการทั้งในด้านของลูกค้า ผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่าย การจัดจำหน่ายเมื่อลูกค้ามีความต้องการสินค้ามากขึ้นสินค้าจะถูกจัดจำหน่ายหมดอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะสินค้าที่ลูกค้ามีความต้องการสูง การบริหารวัสดุหรือสินค้าคงคลังให้สามารถสนองความต้องการของผู้บริโภคได้ทัน โดยการการเติมเต็มสินค้าคงเหลือให้เพียงพอตลอดเวลาจึงมีความสำคัญ

กลยุทธ์การบริหารความสามารถประจำตำแหน่งงาน (Job Competency)

18516

การดำเนินธุรกิจในปัจจุบันที่เต็มไปด้วยการแข่งขัน ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี สินค้าหลากหลายรูปแบบ และทุนที่พร้อมจะทุ่มลงสู่สนามธุรกิจ ทำให้หลาย ๆ องค์กรพบว่าความได้เปรียบในการแข่งขัน (Competency Advantage) ที่สำคัญมาจากความสามารถของพนักงาน จากงานวิจัยหลายชิ้นให้ผลที่ตรงกันว่า การสร้างความสามารถในการแข่งขันจะใช้เวลาในการเลียนแบบต่าง ๆ กัน โดยมีปัจจัยเรื่องคนเป็นสิ่งที่สำคัญและใช้เวลานานที่สุดและยากที่สุดในการเลียนแบบ หลาย ๆ องค์กรจึงเริ่มให้ความสนใจในเรื่องการนำ Competency Model มาช่วยกำหนดทักษะ ความรู้ และลักษณะของบุคคลที่จำเป็นต่อการทำงานแต่ละประเภท เพื่อให้ประสบผลสำเร็จโดยสอดคล้องกับกลยุทธ์ และวัฒนธรรมขององค์กร

ปรัชญาไคเซ็นสำหรับองค์กรแบบลีน

9620

แนวคิดลีนได้มีบทบาทสนับสนุนการพัฒนาผลิตภาพทั้งในภาคการผลิตและบริการอย่างแพร่หลายด้วยการระบุคุณค่าที่มุ่งตอบสนองในสิ่งที่ลูกค้าคาดหวังและสร้างผลตอบแทนสูงสุดให้กับธุรกิจด้วยเครื่องมือสนับสนุน อย่างเช่น แผนภูมิสายธารแห่งคุณค่า กิจกรรม 5ส., แทกต์ไทม์ (Takt Time) การผลิตแบบไหลทีละชิ้น (One-Piece Flow) และการสร้างวัฒนธรรมการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องให้เกิดขึ้นภายในองค์กรหรือที่มักเรียกติดปากว่าไคเซ็น (Kaizen) ที่มีพัฒนาการมากว่า 50 ปี โดยผู้นำอุตสาหกรรมผลิตรถยนต์อย่างโตโยต้าซึ่งเป็นเสมือนกลยุทธ์ทางธุรกิจที่รักษาความสามารถการแข่งขันอย่างยั่งยืน

Page : [First] [Prev] 51 | 52 | 53 | 54 | 55 | 56 | 57 | 58 | 59 | 60 | 61 | 62 | 63 | 64 | 65 | 66 | 67 | 68 | 69 | 70 | 71 | 72 | 73 | 74 | 75 [Next] [Last]