ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังพัฒนาในด้านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ปัญหาของอุตสาหกรรมไทย ต้องซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศทุกอย่าง ทำให้ประเทศไทย ต้องขาดดุลการค้าต่อต่างประเทศ ถึงเวลาแล้วที่อุตสาหกรรมไทยต้องคิดสร้างเครื่องจักรขึ้นมาใช้เอง แทนการซื้อเข้าจากต่างประเทศ เพื่อลดขาดดุลการค้า
ในปัจจุบันประเทศไทยกำลังพัฒนาในด้านเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม ปัญหาของอุตสาหกรรมไทยเราคือ การที่ซื้อเทคโนโลยีจากต่างประเทศทุกอย่าง เช่น เครื่องจักรระบบ IT ทำให้ประเทศไทยต้องขาดดุลการค้าต่อต่างประเทศเป็นอย่างมาก คณะผู้วิจัยเห็นว่าถึงเวลาแล้วที่อุตสาหกรรมไทยต้องคิดสร้างเครื่องจักรขึ้นมาใช้เอง แทนการซื้อและนำเข้าจากต่างประเทศ เพื่อลดขาดดุลการค้า การเริ่มจากการสร้างเครื่องจักรชนิดง่ายๆ เป็นระบบธรรมดา โดยมีจุดประสงค์การลดต้นทุนและสามารถทำงานได้ตามที่ต้องการ โดยมีความเที่ยงตรงตามมาตรฐาน และความเชื่อมั่น 95% ก็ถือว่าน่าจะเหมาะสมแล้ว |
. |
คณะผู้วิจัยได้ทำการสร้างเครื่องม้วนโลหะ ได้คำนวณและออกแบบสร้างขึ้นมาเป็นต้นแบบ ให้กับ พี.เอฟ.อินเตอร์เทค บ.จก. ประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้ |
. |
ขั้นตอนการดำเนินการมีดังนี้ |
1. ศึกษาเครื่องม้วนโลหะแผ่นที่มีขายในท้องตลาดในประเทศไทย วิเคราะห์ข้อดี – ข้อเสีย ของเครื่องม้วนโลหะแต่ละยี่ห้อ เปรียบเทียบความเหมาะสมของขนาดของตัวเครื่องกับการใช้งานให้เหมาะสมกับบริษัทของท่าน และทำการปรับปรุงให้ใช้งานง่าย ๆ ต้นทุนต่ำ โดยเขียนออกมาเป็นกราฟก้างปลาดังรูปที่ 1 |
. |
. |
รูปที่ 1 ก้างปลาแสดงข้อเสียของเครื่องม้วนยี่ห้อต่างๆ |
. |
เมื่อวิเคราะห์ด้วยกราฟก้างปลาจะพบข้อเสีย ก็จะเลือกข้อดีของแต่ละยี่ห้อและนำข้อเสียมาปรับปรุง เพื่อจะนำไปใช้ในขั้นตอนที่สองต่อไป |
. |
2.เลือกข้อดีของแต่ละยี่ห้อ เช่น ยี่ห้อ D ระบบปลดชิ้นงานดี ยี่ห้อ A ระบบส่งกำลังดี ยี่ห้อ B โครงสร้างต้นทุนต่ำ ยี่ห้อ C คุณสมบัติลูกม้วนดี เลือกข้อดีเหล่านี้และปรับปรุงให้เหมาะสมกับโรงงานของเรามากขึ้น จากนั้นมาคำนวณส่วนต่างๆ เพื่อออกแบบดังต่อไปนี้ |
. |
2.1 ขั้นตอนการคำนวณออกแบบ |
2.1.1 คำนวณหาแรงที่จะทำให้แผ่นโลหะเกิดการเปลี่ยนรูป ดังรูปที่ 2 |
. |
รูปที่ 2 การม้วนของแผ่นโลหะ |
. |
|
. |
2.1.2 คำนวณหาขนาดโซ่ที่ใช้กับเพลา แรงที่จะทำให้ลูกม้วนหมุนทำให้แผ่นโลหะเกิดการเปลี่ยนรูปคือ |
. |
. |
2.1.3 คำนวณหาขนาดของมอเตอร์ |
. |
. |
2.1.4 หาขนาดของมอเตอร์ |
. |
. |
2.1.5 หาจำนวนรอบในการหมุนของเพลา |
. |
. |
2.1.6 คำนวณหาขนาดของสายพานลิ่ม |
. |
. |
2.1.7 ระยะห่างระหว่างศูนย์กลาง คำนวณได้จาก |
. |
. |
2.1.8 เลือกใช้สายพานหน้าตัด จาก |
. |
. |
2.1.9 คำนวณหาขนาดของเพลา |
2.1.10 หาแรงที่กระทำบนคาน |
2.1.11 หาทอร์กที่เกิดขึ้น |
2.1.12 หาเส้นผ่านศูนย์กลางของเพลาของเพลา |
. |
. |
2.1.13 การหาระยะโก่ง (Deflection) ที่เกิดขึ้นบนเพลาจากระยะโก่งสูงสุด (Maximum Deflection) ที่เกิดขึ้นตรงกลางที่ |
. |
. |
2.1.14 คำนวณหาว่าโครงสร้างสามารถรับน้ำหนักได้หรือไม่ |
2.1.15 หาน้ำหนักลูกม้วน |
. |
. |
2.1.16 หาน้ำหนักแผ่น Plate 1 |
. |
. |
2.1.17 ขั้นตอนการเขียนแบบ ในขั้นตอนนี้เป็นการเขียนแบบชิ้นส่วนต่างๆ ของเครื่องม้วนโลหะ เพื่อนำไปใช้ในงานจริงโดยการใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ในการเขียนแบบ และโปรแกรมที่ใช้ในการเขียนแบบนั้นเป็นโปรแกรม Solid Edge |
. |
2.1.18 ตรวจสอบและแก้ไขแบบ จากการเขียนแบบข้างต้นได้ตรวจสอบแบบซึ่งผู้ตรวจสอบ คือ วิศวกรออกแบบและเขียนแบบเป็นผู้ตรวจสอบถ้าไม่ผ่านก็ให้นำกลับไปแก้แล้วมาส่งใหม่ |
. |
2.1.19 ขั้นตอนการประเมินราคาชิ้นส่วน เป็นการตรวจสอบราคาชิ้นส่วนมาตรฐานและราคาวัสดุตามท้องตลาดสามารถใช้ตาราง |
. |
2.1.20 สั่งซื้ออุปกรณ์ เป็นการสั่งซื้อวัสดุและอุปกรณ์มาตรฐานตามใบรายการที่ได้ตามการออกแบบ ดังรูปการประกอบชิ้นส่วน ในรูปที่ 3 |
. |
. |
รูปที่ 3 ส่วนประกอบของเครื่องม้วนโลหะ |
. |
2.1.21 ทำการทดสอบความเที่ยงตรงและประสิทธิภาพ โดยกำหนดขอบเขต เช่น ม้วนเหล็กและสแตนเลสที่มีความหนา 1, 1.5 และ |
. |
ตัวอย่าง การหาค่าความผิดพลาดของเครื่อง ที่ Ø 150 มม. และแผ่นสแตนเลส หนา |
วิธีทำ ค่าความผิดพลาดของเครื่อง = 150.225 - 150 |
= 0.225 |
ดังนั้นค่าความผิดพลาดของชิ้นงานม้วนคือ 0.225 |
. |
|
. |
. |
. |
รูปที่ 4 แผนภูมิเปรียบเทียบค่าความผิดพลาดของสแตนเลสและเหล็ก |
. |
2.1.22 การหาประสิทธิภาพของเครื่อง จากข้อมูลที่ได้มานั้นจะนำมาทำการวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของเครื่องม้วนโลหะแผ่น จะอ้างอิงมาจากทฤษฏีและมีขั้นตอนการคำนวณดังต่อไปนี้หาช่วงความเชื่อมั่นที่ 95 % |
. |
. |
จากผลการทดสอบสรุปได้ว่า ประสิทธิภาพของเครื่องม้วนโลหะมีความเที่ยงตรงอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับได้ที่ความเชื่อมั่น 95% ประโยชน์ที่ได้รับ คือ เครื่องม้วนที่มีราคาต่ำ คุณภาพได้ตามความต้องการของผู้ใช้ ประเทศชาติไม่เสียดุลการค้าต่อต่างประเทศ |
สงวนลิขสิทธิ์ ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2539 www.thailandindustry.com
Copyright (C) 2009 www.thailandindustry.com All rights reserved.
ขอสงวนสิทธิ์ ข้อมูล เนื้อหา บทความ และรูปภาพ (ในส่วนที่ทำขึ้นเอง) ทั้งหมดที่ปรากฎอยู่ในเว็บไซต์ www.thailandindustry.com ห้ามมิให้บุคคลใด คัดลอก หรือ ทำสำเนา หรือ ดัดแปลง ข้อความหรือบทความใดๆ ของเว็บไซต์ หากผู้ใดละเมิด ไม่ว่าการลอกเลียน หรือนำส่วนหนึ่งส่วนใดของบทความนี้ไปใช้ ดัดแปลง โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร จะถูกดำเนินคดี ตามที่กฏหมายบัญญัติไว้สูงสุด