วาล์วสำหรับควบคุมความร้อนอัตโนมัติ ซึ่งทำหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิของไหลโดยอัตโนมัติใน turbine, compressor และ เครื่องยนต์ของ jacket water และระบบทำความเย็นน้ำมันหล่อลื่น ซึ่งเหมาะสมกับกระบวนการควบคุมและการใช้งานในอุตสาหกรรมที่ของไหลจำเป็นต้องผสมกันหรือแยกทางกัน ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของของไหลนั้น
กว่า 50 ปีที่ AMOT เป็นผู้นำทางด้านระบบอุปกรณ์ควบคุมและระบบความปลอดภัย สำหรับเครื่องจักรเครื่องยนต์และระบบควบคุมการผลิตในกระบวนการต่างๆ ในอุตสาหกรรม อุปกรณ์วัดและควบคุมที่มีคุณภาพและความน่าเชื่อถือสูง |
. |
AMOT แบ่งออกเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ ดังนี้ |
|
Control Valves
|
เป็นวาล์วที่ใช้ในการควบคุมการผลิต มีทั้ง 2 และ 3 ทาง ใช้ในการควบคุมจากความดันและอุณหภูมิและสามารถควบคุมการทำงานของตัววาล์วได้จากภายในและภายนอก มีขนาดตั้งแต่ 15 mm (1/2 นิ้ว) ไปจนถึง 200 mm (8 นิ้ว) |
. |
จากการออกแบบที่ทำให้วาล์วมีความทนทานและความน่าเชื่อถือ ทำให้บริษัทผู้ผลิตเครื่องยนต์ เครื่องจักร และคอมเพรสเซอร์ชั้นนำทั่วโลกใช้ผลิตภัณฑ์ของ AMOT เป็นมาตรฐานในการพิจารณาออกแบบใช้ในระบบการควบคุมและระบบตรวจสอบ ป้องกัน เพื่อความปลอดภัยของเครื่องจักร |
. |
Thermostatic Control Valves คืออะไร? |
Thermostatic Control Valves คือ วาล์วสำหรับควบคุมความร้อนอัตโนมัติ ซึ่งทำหน้าที่ในการควบคุมอุณหภูมิของไหลโดยอัตโนมัติใน turbine, compressor และ เครื่องยนต์ของ jacket water และระบบทำความเย็นน้ำมันหล่อลื่น ซึ่งเหมาะสมกับกระบวนการควบคุมและการใช้งานในอุตสาหกรรมที่ของไหลจำเป็นต้องผสมกัน(mixing)หรือแยกทางกัน(diverting) ขึ้นอยู่กับอุณหภูมิของของไหลนั้น อาจจะนำไปใช้กับระบบ co-generation เพื่อควบคุมอุณหภูมิใน loop การนำความร้อนกลับมาใช้ได้อีก ทำให้มั่นใจว่า การหล่อเย็นของเครื่องยนต์ทำงานได้เต็มที่ และนำความร้อนกลับมาใช้ได้อีกสูงที่สุด |
. |
. |
รูปที่ 1 แสดงภาพตัดขวางของ Thermostatic Valve |
. |
หลักการทำงาน |
AMOT Thermostatic Valves ทั้งหมดจะมี positive 3-way valve action ซึ่งใช้กับน้ำหรือน้ำมันหล่อลื่น ที่จะทำให้ไหลได้ในทิศทางที่เราต้องการ การใช้งาน jacket water เมื่อเริ่มเดินเครื่องยนต์ขณะที่เย็น วาล์วนี้จะเป็นตัวทำให้น้ำทั้งหมดผ่าน by-pass กลับเข้ามาในเครื่องยนต์ การจัดการนี้จะทำให้เวลาในการอุ่นเครื่องเร็วขึ้น หลังจากที่เริ่มอุ่นเครื่องแล้ว ปริมาณน้ำที่ผ่าน by-pass และผสมกันกับน้ำเย็นที่ได้กลับมาจากเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนหรือระบบทำความเย็นอื่นๆโดยอัตโนมัติ เพื่อให้ได้อุณหภูมิที่ออกจาก jacket water ตามที่ต้องการ ถ้าจำเป็น AMOT Thermostatic Valves จะปิดเส้น by-pass เพื่อให้ได้การหล่อเย็นสูงสุด 3-way action ของ AMOT Thermostatic Valves ทำให้มีปริมาณน้ำผ่านเครื่องปั๊มและเครื่องยนต์อย่างคงที่ตลอดเวลาโดยไม่มีข้อจำกัดของปั๊มเมื่อเครื่องยนต์เย็น AMOT Thermostatic Valves สามารถใช้ได้ในท่อขนาด 1/2" ถึง 8" สำหรับอัตราการไหลของน้ำ 2-2800 USGPM (8-10600 LPM) แรงขับเคลื่อนในการทำงานมาจากการขยายตัวของวัสดุคล้ายขี้ผึ้งชนิดพิเศษซึ่งยังคงอยู่ในรูปกึ่งของแข็งและยัง sensitive สูงต่อการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ |
. |
วัสดุโครงสร้างของวาล์ว |
|
วัสดุที่ใช้ทำซีล |
|
. |
รูปที่ 2A แสดงชนิดส่วนประกอบของโมเดล B series ซึ่งมี sliding valve ใน Cold position ของไหลจะผ่าน by-pass (Port B บนวาล์ว) ตามลูกศร |
. |
รูปที่ 2B แสดง Sliding valve เคลื่อนที่ไปที่ส่วนขยายหรือ warm position ช่อง by-pass จะปิดเพราะ sliding valve เลื่อนขึ้นไปชนกับseat และน้ำจะเบี่ยงเบนออกทางช่องน้ำออก (Port C บนวาล์ว) ดังแสดงด้วยลูกศร |
. |
คุณลักษณะที่สำคัญ |
|
การเลือกใช้ AMOT Thermostatic Valves |
1. ให้เลือกขนาดและ series ของโมเดล ให้เหมาะสมตามอัตราการไหลที่ต้องการ ใช้ รูปที่ 3 เลือกวาล์วที่สามารถใช้งานตามอัตราการไหลที่ต้องการได้ รายการอัตราการไหลต่ำสุดและสูงสุด ยึดตาม pressure drop ที่ผ่านวาล์ว ซึ่งประมาณ 2 PSI (min) และ 7 PSI (max) |
. |
2. การเลือกวัสดุที่เหมาะสมในการใช้ทำตัววาล์ว |
Cast Iron (เหล็กหล่อ) : ใช้สำหรับระบบที่เป็นน้ำหรือน้ำมันคุ้มค่าที่สุด Ductile Iron (เหล็กเหนียว) : ให้ความแข็งแรงสูงให้อัตราความดันสูง Steel (เหล็กกล้า) : ให้ความแข็งแรงสูงให้อัตราความดันสูง Stainless steel : ความทนทานต่อการกัดกร่อนสูงสุด ให้ความแข็งแรงสูงให้อัตราความดันสูง Bronze : สำหรับน้ำเกลือและการใช้งานทางทะเล Aluminum : สำหรับต้นทุนต่ำแต่ต้องการความดันสูง |
. |
3. เลือก Nominal Temperature จากการตั้งอุณหภูมิมาตรฐาน โดยปกติอยู่ระหว่าง 85 °F ถึง 190 °F การตั้งอุณหภูมิต่ำถึง 55 °F และสูงถึง 240 °F จะสามารถทำได้ในบางรุ่น |
. |
4. การเลือกส่วนประกอบพิเศษอื่นๆ ถ้าจำเป็น ให้อ้างอิงจากใบแสดงชุดวาล์วชนิดเฉพาะเจาะจงสำหรับส่วนประกอบพิเศษ ตัวอย่าง |
. |
|
|
. |
รูปที่ 3 ตารางแสดงข้อมูลในการใช้งานแบ่งตามขนาดของ Thermostatic Valves ขนาดตั้งแต่ ½ "ถึง 16" |
. |
AMOT Thermostatic Valves ถูกตั้งอัตราให้อุณหภูมิเพื่อให้ได้อุณหภูมิที่เหมาะสมในการปฏิบัติงานของ Jacket Water อุณหภูมิในการทำงานสำหรับระบบการใช้งานน้ำมันหล่อลื่นอาจจะสูงกว่าอุณหภูมิปกติเล็กน้อยขึ้นอยู่กับอัตราการไหล, ความจุความเย็นของน้ำมันและเงื่อนไขอื่นๆ ของระบบ ช่วงกว้างของการตั้งอุณหภูมิ สามารถตั้งได้ตั้งแต่ 55 °F ถึง 240 °F ( 13 °C ถึง 116 °C ) |
. |
การนำ AMOT Thermostatic Valve ไปใช้งานในลักษณะต่างๆ |
. |
รูปที่ 4 |
การควบคุมระบบน้ำหล่อเย็น–เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อน แสดงการติดตั้งวาล์วแบบ diverting วาล์วในตำแหน่งที่เป็นจุดแสดงการต่อแบบ mixing |
. |
รูปที่ 5 |
การควบคุมระบบน้ำมันหล่อลื่น สำหรับการควบคุมอุณหภูมิด้วยน้ำมันหล่อลื่น AMOT Thermostatic Valves ถูกใช้โดยตรงใน line ดังแสดงในรูป น้ำมันจะผ่านไปสู่เครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเมื่อมันเย็น และจะเข้าสู่อุณหภูมิสำหรับการปฏิบัติงานอย่างรวดเร็ว เมื่ออุ่นจำนวนน้ำมันที่เหมาะสมจะไหลเวียนอย่างอัตโนมัติผ่านเครื่องแลกเปลี่ยนความร้อนเพื่อรักษาอุณหภูมิที่ต้องการ |
รูปที่ 6 |
. |
เครื่องปรับอากาศ วาล์วแสดงต่อแบบ mixingเพื่อควบคุมอุณหภูมิน้ำทางเข้าเครื่องทำความเย็นของระบบ condenser วาล์วที่แสดงเป็นเส้นประควบคุมอุณหภูมิทางออก |
รูปที่ 7 |
. |
การประยุกต์ใช้กับ Water Saving วาล์วแสดงการไหลต่ำที่สุดที่ผ่านเครื่องทำความเย็นเพื่อรักษาน้ำไว้และต้องการให้มีรูรั่วภายในเพื่อให้มีน้ำเพียงเล็กน้อยไหลผ่านได้ |
. |
รูปที่ 8 |
. |
Single Pump Cogeneration System แสดงระบบการนำความร้อนกลับมาใช้ใหม่แบบพื้นฐานโดยการใช้ AMOT Thermostatic Valves เพื่อเสถียรอุณหภูมิและนำความร้อนกลับมาใช้ได้มากที่สุด |
. |
Thermostatic Control Valve รูปแบบโมเดลต่าง ๆ |
AMOT Model B Valve เป็นวาล์วแบบอัตโนมัติ และเป็นวาล์วควบคุมอุณหภูมิของของไหลซึ่งเป็นแบบ 3 ทาง สำหรับการใช้งานแบบผสม |
. |
คุณลักษณะ |
|
. |
การนำไปประยุกต์ใช้งาน |
|
|
. |
MODEL C THERMOSTATIC VALVE, CM, CL, CF, CCM |
. |
AMOT Model C Valve มีขนาดให้เลือกหลายขนาด และต้องมีการตั้งการควบคุมอุณหภูมิของของไหลด้วย เพราะของไหลบางชนิดเช่น เป็นแบบสังเคราะห์จะไม่สามารถเข้ากันได้กับทองแดงหรือทองเหลือง ส่วนประกอบจึงต้องประกอบด้วยนิกเกิล |
คุณลักษณะ |
|
. |
การนำไปประยุกต์ใช้งาน |
|
Cv เป็นค่าสัมประสิทธิ์การไหลของวาล์ว ( Kv เป็นสัมประสิทธิ์ระบบเมตริก) ค่านี้ได้อธิบายถึงจำนวน แกลลอนต่อนาทีของน้ำที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งไหลผ่านวาล์วที่มี Pressure drop ที่ 1 PSI ข้ามวาล์วนี้ (ดูในตาราง) |
. |
ความดันสูงสุดในการทำงาน (Maximum working pressures)วัดในหน่วย bar (PSI) |
. |
รุ่นที่ใช้ครีบโลหะ |
MODEL D THERMOSTATIC VALVE |
. |
AMOT Model D Valve เป็นแบบอัตโนมัติ และเป็นวาล์วควบคุมอุณหภูมิของของไหลซึ่งเป็นแบบ 3 ทาง สำหรับการใช้งานแบบแยกทางออกเป็น 2 ทาง |
. |
คุณลักษณะ |
|
. |
การนำไปประยุกต์ใช้งาน |
|
MODEL E THERMOSTATIC VALVE |
AMOT Model E Valve เป็นแบบอัตโนมัติ และเป็นวาล์วควบคุมอุณหภูมิของของไหลซึ่งเป็นแบบ 3 ทาง สำหรับการใช้งานแบบ diverting หรือ mixing วาล์ว E ส่วนประกอบและซีล สามารถทำมาจากแผ่นนิกเกิลได้เพื่อให้ทนทานต่อผลจากการกัดกร่อนของน้ำมัน ซึ่งมีแอมโมเนียเจือปนอยู่ในเครื่องทำความเย็น |
คุณลักษณะ |
|
. |
การนำไปประยุกต์ใช้งาน |
|
สัมประสิทธิ์การไหล (Flow coefficient) |
Cv เป็นค่าสัมประสิทธิ์การไหลของวาล์ว ( Kv เป็นสัมประสิทธิ์ระบบเมตริก) ค่านี้ได้อธิบายถึงจำนวน แกลลอนต่อนาทีของน้ำที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งไหลผ่านวาล์วที่มี Pressure drop ที่ 1 PSI ข้ามวาล์วนี้ (ดูในตาราง) |
ความดันสูงสุดในการทำงาน (Maximum working pressures)วัดในหน่วย bar (PSI) |
. |
MODEL H THERMOSTATIC VALVE |
คุณลักษณะ |
|
. |
การนำไปประยุกต์ใช้งาน |
|
สัมประสิทธิ์การไหล (Flow coefficient) |
Cv เป็นค่าสัมประสิทธิ์การไหลของวาล์ว ( Kv เป็นสัมประสิทธิ์ระบบเมตริก) ค่านี้ได้อธิบายถึงจำนวน แกลลอนต่อนาทีของน้ำที่อุณหภูมิห้อง ซึ่งไหลผ่านวาล์วที่มี Pressure drop ที่ 1 PSI ข้ามวาล์วนี้ (ดูในตาราง) |
. |
ความดันสูงสุดในการทำงาน (Maximum working pressures) วัดในหน่วย bar (PSI) |
. |
วาล์วควบคุมด้วยอุณหภูมิแบบ 3 ทาง (G-Valve) |
วาล์วควบคุมด้วยอุณหภูมิแบบ 3 ทางเป็นวาล์วที่มีการควบคุมทิศทางการไหลของของไหลจากอุณหภูมิหรือความดันภายนอก จากคุณสมบัติที่ดีของ G-Valve ที่สามารถใช้งานในด้านต่างๆได้อย่างยืดหยุ่นมาก มีความแม่นยำสูง การควบคุมรวดเร็ว น้ำหนักเบา สะดวกในการขนส่งและการซ่อมบำรุง มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับยี่ห้ออื่น เหมาะสำหรับการควบคุมร่วมกับระบบ Programmable Logic Controller (PLC) และระบบ Distributed Control System (DCS) หรือระบบควบคุมอัตโนมัติแบบอื่น ระบบควบคุมระบบนี้แบ่งได้เป็น 3 ลักษณะคือ |
. |
ระบบควบคุมวาล์วด้วยไฟฟ้า (Electric system) |
ระบบวาล์วที่ควบคุมด้วยไฟฟ้าประกอบด้วยอุปกรณ์วัดอุณหภูมิ(Temperature Sensor), วาล์วควบคุม 3 ทางที่ขับด้วยไฟฟ้า และตัวควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ ตัวควบคุมมีทั้งแบบ Panel Mount และแบบ Wall
|
. |
ตัวควบคุมการปิด-เปิดของวาล์วด้วยสัญญาณไฟฟ้า ( Electric Actuator) |
ตัวควบคุมการปิด-เปิดของวาล์วด้วยสัญญาณไฟฟ้าจะกระทัดรัดและมีน้ำหนักเบา มีความแข็งแรงทนทาน มีการปกป้องโดยรอบที่ IP65 เครื่องต้นกำเนิดนี้ได้รับพลังงานจากมอเตอร์ไฟฟ้าขับเคลื่อน gear box ชนิดเกลียวหนอน ซึ่งจะป้องกันการขับย้อนกลับเนื่องจากแรงของของไหล ซึ่งเหมาะสมกับการควบคุมด้วยระบบ Manual เหมือนมาตรฐานและช่วยให้วาล์วทำงานได้โดยไม่ต้องใช้พลังงาน |
. |
เครื่องตัดกระแสไฟฟ้าโดยใช้ความร้อนเหมาะที่จะป้องกันการที่มีความร้อนมากเกินไป สวิตช์ที่ถูกกำหนดที่ปลายแต่ละข้างแยกกำลังเครื่องยนต์ออกจากกัน สวิตช์นี้สามารถใช้สำหรับบ่งชี้การส่งสัญญาณได้ ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ 01VA Electric Actuator |
. |
. |
ระบบการควบคุมวาล์วด้วยลม (Pneumatic System) |
ระบบการควบคุมวาล์วด้วยลมประกอบด้วยวาล์วควบคุมแบบ 3 ทางที่ขับด้วยลม ตัวควบคุม (Controller) จะรวม Temperature sensor ไว้ในชุดเดียวกัน ซึ่งมีให้เลือกทั้งแบบ Panel Mount และแบบ Wall
|
. |
เครื่องต้นกำเนิดลม (Pneumatic actuator) |
เครื่องต้นกำเนิดลมมีความทนทาน, มีการหมุน ¼ รอบ, ตัวขับลูกสูบ 2 ตัวทำงานบนหลักการ scotch yoke ตัวขับนี้เหมาะสมกับการดีดตัวกลับเหมือนมาตรฐานและจำเป็นต้องมีระบบแบบ Fail-safe ตัวขับนี้เหมาะสมกับตัวบอกตำแหน่งของวาล์วที่แม่นยำและเคลื่อนที่ย้ายซ้ำๆ ได้ |
. |
|
. |
ระบบควบคุมวาล์วด้วยไฟฟ้าและลม (Electro-pneumatic) |
ระบบวาล์ว Electro-pneumatic เป็นการรวมเอาระบบควบคุมแบบไฟฟ้าและระบบควบคุมด้วยลมเข้ามาทำงานร่วมกันประกอบด้วย วาล์วควบคุมด้วยลมแบบ 3 ทางกับตัวแปลงสัญญาณไฟฟ้าไปเป็นสัญญาณ Pneumatic (electro-pneumatic converter) อุปกรณ์วัดอุณหภูมิจะส่งสัญญาณความต้านทานไปยังตัวควบคุมอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งส่งสัญญาณนี้ไปยังตัวแปลงสัญญาณจาก4-20 มิลลิแอมป์ไปยังตัวแปลงสัญญาณไฟฟ้าไปเป็นสัญญาณ Pneumatic (I/P Converter) สัญญาณ Pneumatic จะถูกส่งไปควบคุมวาล์ว ระบบนี้จะรวมเอาข้อดีของตัวควบคุมแบบไฟฟ้าและระบบ Pneumatic เข้าไว้ด้วยกัน ทำให้ได้ค่าการควบคุมที่ละเอียด รวดเร็ว และแม่นยำ ทั้งยังสามารถติดตั้งในบริเวณที่เป็นพื้นที่อันตราย (Hazardous Area) ได้ด้วย |
. |
คุณลักษณะ |
|
การนำไปประยุกต์ใช้งาน |
|
การนำไปประยุกต์ใช้งาน (Applications) |
. |
ควบคุมอุณหภูมิของน้ำมันหล่อลื่น เป็นการควบคุมการผสมของน้ำมันจากระบบระบายความร้อนกับน้ำมันหลังจากการใช้งาน เพื่อให้อุณหภูมิก่อนเข้าไปที่ระบายความร้อนให้โหลดคงที่ ทั้งนี้จะต้องติดตั้งอุปกรณ์วัดอุณหภูมิไว้ใกล้ๆ กับอ่างรองน้ำมัน เพื่อให้การผสมให้อุณหภูมิคงที่ได้รวดเร็ว และแม่นยำ |
. |
|
. |
การหล่อเย็นของ Jacket water เป็นการควบคุมทิศทางการไหลของน้ำหล่อเย็น ซึ่งหลังจากน้ำมันแลกเปลี่ยนความร้อนกับโหลดแล้วจะมีระดับอุณหภูมิสูงขึ้น ถ้าหากมีอุณหภูมิต่ำกว่าระดับที่เป็นอันตราย วาล์วก็จะทำหน้าที่ผ่านให้น้ำมันย้อนกลับไปที่โหลดอีกครั้ง จนกระทั่งอุณหภูมิสูงเกินกว่าระดับที่ตั้งไว้วาล์วก็จะเปิดให้น้ำมันที่ผ่านจากระบบลดอุณหภูมิแล้วมาผสมกัน ทำให้อุณหภูมิต่ำลง แล้วจึงส่งน้ำมันเข้าไปเพื่อระบายความร้อนที่โหลด อุปกรณ์วัดอุณหภูมิต้องติดไว้ที่ทางออกของแหล่งกำเนิดความร้อน |
. |
. |
การควบคุมอุณหภูมิของระบบเทอร์โบชาร์จเจอร์ เป็นการระบายความร้อนที่อุณหภูมิสูงๆ วาล์วเป็นตัวปรับอัตราการไหลของน้ำหล่อเย็น ซึ่งสามารถเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการผลิต |
. |
. |
การควบคุมระบบทำความเย็นขนาดใหญ่ สำหรับระบบทำความเย็นของส่วนกลาง โดยอาจควบคุมแบบผสม (Mixing) หรือแบบแยกทางกัน (Diverting) ขึ้นอยู่กับการใช้งาน ทำให้การควบคุมอุณหภูมิมีความแม่นยำ ตั้งแต่อัตราการไหลต่ำๆ จนถึงอัตราการไหลสูงๆ เมื่อมีการใช้งานโหลดสูง |
. |
. |
ระบบระบายความร้อนด้วยน้ำทะเล ไม่มีปัญหาจากการกัดกร่อนของน้ำทะเล โดยเลือกใช้ G-Valve ที่ทำจาก Bronze สามารถใช้งานได้ทั้งแบบผสม (Mixing) หรือแบบแยกทางกัน (Diverting) |
. |
ตารางเปรียบเทียบ AMOT 3-Way Temperature Control Valves (G Valve) แบบที่ควบคุมด้วยไฟฟ้า (Model GE) และแบบที่ควบคุมด้วยลม (MODEL GP) |
. |
ตารางเปรียบเทียบข้อดีและข้อแตกต่างของวาล์วควบคุมความร้อนอัตโนมัติแบบวาล์ว 3 ทาง (3-way Thermostatic Control Valve) และวาล์วควบคุมอุณหภูมิแบบวาล์ว 3 ทาง (3-way Temperature Control Valve) ชนิดควบคุมด้วยระบบไฟฟ้า (Electric, Electro-Pneumatic Actuated) หรือชนิดควบคุมด้วยระบบลม (Pneumatic Actuated) |
. |
. |
สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและติดต่อได้ที่ |
บริษัท อนาไลติคอล แอนด์ คอนโทรล เทคโนโลยี 2000 จำกัด |
สำนักงานกรุงเทพฯ โทรศัพท์ 0-2944-4748 โทรสาร 0-2944-5854 |
สำนักงานระยอง โทรศัพท์ 0-3860-7747 โทรสาร 0-3860-7748 |
www.actcom2000.com |
E-Mail : actc@ksc.th.com |